วิกิพีเดีย:โครงการวิกิวิทยาศาสตร์ - วิกิพีเดีย


Article Images

โครงการวิกิวิทยาศาสตร์

หน้าโครงการห้องประชุม (และทดลอง)บทความวิทยาศาสตร์สถานีย่อยวิทยาศาสตร์

โครงการวิกิวิทยาศาสตร์

สมาชิก

  1. Mopza (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  2. Tinuviel (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  3. Misterwikki (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  4. Iamion (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  5. Cherkung (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  6. B20180 (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  7. SARANPHONG YIMKLAN (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  8. NOKSAAK (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  9. Boom1221 (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  10. Punchalee.mon (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  11. Ponpan (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  12. Thai.60 (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  13. Phromkham (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  14. buileducanh (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  15. AekwatNs (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  16. Ekminarin (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  17. Kattie Katey (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)

สารบัญ

สถิติบทความ

บทความวิทยาศาสตร์ ความสำคัญ
ไม่มี ทั้งหมด
คุณภาพ
 บทความคัดสรร คัดสรร  14 14
 บทความคุณภาพ คุณภาพ  3 3
ดี 56 56
พอใช้ 268 268
โครง 906 906
รายชื่อ 38 38
จัดระดับแล้ว 1285 1285
ยังไม่ได้จัดระดับ 336 336
ทั้งหมด 1621 1621

โครงการวิกิวิทยาศาสตร์ เป็นส่วนหนึ่งของสถานีย่อย:วิทยาศาสตร์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมบทความต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ และพัฒนาบทความวิทยาศาสตร์ต่าง ๆ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยในปัจจุบัน บทความวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่อยู่ในระดับโครงและหลายบทความยังไม่มีแหล่งอ้างอิง ซึ่งพวกเราทุกคนสามารถช่วยกันสร้างสารานุกรมวิทยาศาสตร์ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นได้

สิ่งที่ต้องทำ

แก้

ลงชื่อสมาชิก

แก้

การลงชื่อเพื่อเข้าเป็นสมาชิกของโครงการ โครงการวิกิวิทยาศาสตร์ หมายความว่าคุณยอมรับในข้อตกลงของที่ประชุมและกฎระเบียบต่างๆ ของโครงการวิกิวิทยาศาสตร์ โดยสมาชิกจะต้อง

    1. เข้าร่วมประชุมทุกครั้ง โดยจะมีการกำหนดวันประชุมล่วงหน้า หากไม่สามารถประชุมได้ ให้แจ้งที่ คุยกับผู้ใช้:Mopza หรือทาง ไออาร์ซี ช่อง #wikipedia-thเชื่อมต่อ
    2. ปฏิบัติตามนโยบายที่กำหนดจากที่ประชุมของโครงการ
    3. พัฒนาบทความวิทยาศาสตร์ให้เป็นไปตามนโยบาย

คู่มือการเขียนบทความวิทยาศาสตร์

แก้

คุณทำได้

แก้

 

นี่คือส่วนหนึ่งที่ คุณทำได้ คุณสามารถมีส่วนร่วมในสารานุกรมวิทยาศาสตร์ได้ อย่าลังเล!

การจัดระดับบทความ

แก้

บทความระดับคัดสรร

แก้

การจัดระดับบทความ รูปแบบการเขียนบทความ
{{บทความวิทยาศาสตร์|ระดับ=คัดสรร}}
เป็นบทความวิทยาศาสตร์ที่มีประสิทธิภาพต่อผู้อ่านสูงสุด ทั้งนี้จะต้องประกอบไปด้วย เนื้อหาที่เป็นสารานุกรม ไม่เอนเอียงไปทางใดทางหนึ่ง

ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ พร้อมอ้างอิงแหล่งที่มาที่สามารถยืนยันได้ พร้อมเนื้อหาที่มีความสมบูรณ์ในตัวมันเอง มีการจัดรูปแบบที่ดีพร้อมภาพประกอบที่มีลิขสิทธิ์ยืนยันได้ มีการใช้สำนวนที่อ่านเข้าใจ และโครงสร้างบทความต่อเนื่องกัน

เช่น ปรากฏการณ์โลกร้อน ณ วันที่ 3 เมษายน 2552

บทความระดับคุณภาพ

แก้

การจัดระดับบทความ รูปแบบการเขียนบทความ
{{บทความวิทยาศาสตร์|ระดับ=คุณภาพ}} เป็นบทความวิทยาศาสตร์ที่มีประโยชน์ต่อผู้อ่าน เนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์ คล้ายบทความระดับคัดสรร แต่ยังมีข้อผิดพลาดอยู่บางส่วน แต่ยังเห็นได้ไม่ชัดเจน ซึ่งสิ่งที่ทุกคนทำได้ในบทความระดับนี้คือการแก้ไขเนื้อหาหรือข้อความให้อ่านง่าย

บทความระดับดี

แก้

การจัดระดับบทความ รูปแบบการเขียนบทความ
{{บทความวิทยาศาสตร์|ระดับ=ดี}}
เป็นบทความวิทยาศาสตร์ที่มีเนื้อหาครอบคลุมส่วนสำคัญครบถ้วนในทุกด้าน มีรูปแบบที่ดูเหมาะสม ซึ่งรูปแบบและการใช้ภาษา อาจยังต้องการปรับปรุง ยังพอมีประโยชน์ต่อผู้อ่านส่วนใหญ่แต่ไม่ทุกคน ผู้อ่านทั่วไปอ่านและเข้าใจในภาพรวมและเนื้อหาสำคัญ รวมถึงรายละเอียดของหัวข้อนั้น สิ่งที่คุณทำได้ในบทความระดับนี้คือเพิ่มเติมเนื้อหาส่วนย่อย โดยไม่จำเป็นต้องลงทุกรายละเอียด ปรับปรุงการใช้ภาษา และการจัดรูปแบบ
เช่น ปรากฏการณ์เรือนกระจก ณ วันที่ 3 เมษายน 2552

บทความระดับพอใช้

แก้

การจัดระดับคัดสรร รูปแบบการเขียนบทความ
{{บทความวิทยาศาสตร์|ระดับ=พอใช้}}
เป็นบทความวิทยาศาสตร์ที่ มีเนื้อหาที่ดีเป็นหลักในบทความ แต่ยังขาดเนื้อหาสำคัญบางประเด็นในบทความ มีรูปแบบที่ดูเหมาะสม เช่น อาจจะขาด บางส่วนของเนื้อหาหลักของบทความ หรือ เนื้อหาย่อยที่สนับสนุนเนื้อหาหลักในบทความ ยังพอมีประโยชน์ต่อผู้อ่านกลุ่มหนึ่ง มีเนื้อหาในระดับที่เหมาะสม แต่ตัวผู้อ่านจำเป็นต้องหาแหล่งข้อมูลอื่น เพื่อทำความเข้าใจในภาพรวมของหัวข้อนั้น สิ่งที่คุณทำได้ในบทความระดับนี้คือการแก้ไขและเพิ่มเติมเนื้อหาหลักที่สำคัญ ปกติแล้วบทความนี้จะไม่มีป้าย {{เก็บกวาด}} หรือ {{โครง}} ปรากฏอยู่
เช่น วิทยาศาสตร์ ณ วันที่ 3 เมษายน 2552

บทความระดับโครง (บทความสั้น)

แก้

การจัดระดับบทความ รูปแบบการเขียนบทความ
{{บทความวิทยาศาสตร์|ระดับ=โครง}}
เป็นบทความวิทยาศาสตร์ที่มีเนื้อหาที่อธิบายที่อธิบายความหมายของหัวข้อนั้น โดยส่วนใหญ่จะมีลักษณะที่สั้น แต่ไม่สั้นมาก มีประโยชน์ต่อผู้อ่านที่ไม่รู้จักหรือไม่เคยได้ยินชื่อนั้นมาก่อน ในบทความสามารถอธิบายความหมายในภาพรวมได้ ซึ่งลักษณะนี้มักจะไม่มีประโยชน์ต่อผู้ใช้บางกลุ่มที่รู้จักบทความเป็นอย่างดี สิ่งที่คุณทำได้ในบทความระดับนี้คือ การเพิ่มเติมเนื้อหา สามารถปรับปรุงรูปแบบ และภาษาเช่นกัน โดยบทความในกลุ่มนี้ไม่จำเป็นต้องมีป้าย {{สั้นมาก}}
เช่น กฎของโอห์ม ณ วันที่ 3 เมษายน 2552

บทความระดับรายชื่อ

แก้

การจัดระดับบทความ รูปแบบการเขียนบทความ
{{บทความวิทยาศาสตร์|ระดับ=รายชื่อ}}
เป็นบทความวิทยาศาสตร์ที่มีเนื้อหามีลักษณะเป็นรายชื่อ มีประโยชน์ต่อผู้อ่านเพื่อเป็นรวบรวมข้อมูลแบบรายชื่อ หรือเป็นรูปแบบตารางธาตุ และใช้เป็นดัชนีไปบทความอื่น โดยต่างจากหมวดหมู่ที่อาจมีภาพ แหล่งอ้างอิง และคำอธิบายกำกับ แต่จะไม่ได้รับการจัดระดับเหมือนบทความทั่วไป และทุกคนสามารถจัดบทความที่ดูเหมือนมีลักษณะเป็นรายชื่อได้
เช่น รายชื่อของธาตุตามหมายเลข ณ วันที่ 3 เมษายน 2552

บทความคัดสรร/คุณภาพ

แก้

บทความคัดสรร

แก้

บทความคุณภาพ

แก้

โครงการวิกิที่เกี่ยวข้อง

แก้

โครงการพี่น้อง

แก้

 
วิกิพจนานุกรม
หาความหมาย
 
วิกิคำคม
คำคม
 
วิกิตำรา
หนังสือ
 
วิกิซอร์ซ
ค้นแหล่งเอกสาร
 
วิกิข่าว
เนื้อหาข่าว
 
คอมมอนส์
ภาพและสื่อ

โครงการทั่วไป

โครงการเฉพาะทาง

วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
สุขภาพ
ธรรมชาติ
ประวัติศาสตร์
สังคม
ศาสนา
ศิลปะและบันเทิง
กีฬา
คมนาคม
ประเทศและภูมิภาค
ยุโรป
อเมริกาใต้
อเมริกาเหนือ
อาเซียน
ส่วนอื่นของเอเชีย
แอฟริกา
โอเชียเนีย